วันพฤหัสบดีที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

แผนการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ ท๓๐๑๐๖ วรรณคดีกับชีวิต ชั้น ม. ๖




แผนการจัดและประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ
สาขาวิชา  ภาษาไทย                                                                                  รายวิชา  ท๓๐๑๐๖ วรรณคดีกับชีวิต
จำนวนหน่วยกิต  ๑.๐ หน่วยกิต                                                                     ภาคเรียน/ปีการศึกษา ๒/๒๕๕๔
ครูผู้สอน  นางนฤนาถ ธีรภัทรธำรง  นายสมศักดิ์ ทองช่วย  นางมารยาท ประเสริฐ        ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖


คำอธิบายรายวิชา
            ศึกษาความเกี่ยวข้องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา วิเคราะห์วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ ค่านิยม ความเชื่อของคนในสังคมที่ปรากฏในวรรณคดี รู้จักนำข้อคิดในวรรณคดีมาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต สามารถคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านละวิเคราะห์ประเมินคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำความรู้ความคิดไปใช้ในการตัดสินแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต ศึกษาวิเคราะห์ ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของคนในสังคมสมัยก่อน
            ศึกษาเรื่อง คัมภีร์ฉันทศาสตร์ในแพทยศาสตร์สงเคราะห์เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกา สามก๊กตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ กาพย์เห่เรือ สามัคคีเภทคำฉันท์ ไตรภูมิพระร่วง ตอนมนุสสภูมิ  โคลนติดล้อ หัวใจชายหนุ่มหรือวรรณกรรมอื่นๆ ที่อ่าน เห็นคุณค่าทางวรรณศิลป์และสังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูมิปัญญาทางภาษา ชีวิตความเป็นอยู่และค่านิยมที่ปรากฏ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
๑.      บอกความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับชีวิตได้
๒.      บอกสภาพสังคม ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยมในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
๓.      ประมวลคุณค่าทางวรรณศิลป์ (การสรรคำ ความดีเด่นด้านต่างๆ ของร้อยกรอง ภาพพจน์ฯลฯ) จากวรรณคดีที่ศึกษาได้
๔.      วิเคราะห์ชีวิตที่ปรากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันและวรรณกรรมพื้นบ้าน ได้
๕.      สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตได้

๓. กำหนดการจุดประสงค์การเรียนรู้

สัปดาห์ที่
(วันที่)
คาบที่
หัวข้อ / สาระการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้
(๒๕-๒๘ต.ค.๕๔)
๑-๒
ปฐมนิเทศ
ทดสอบความรู้ก่อนเรียน
๑.บอกวิธีการจัดการเรียนการสอน ท๓๐๑๐๖ ได้
๒.ตอบคำถามจากแบบฝึกได้ร้อยละ ๗๐
๒-๓
(๓๑ต.ค.-๑๑พ.ย.)
๓-๖
๑.คุณค่าของวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
๒.กาพย์เห่เรือเจ้าฟ้ากุ้ง
-วรรณคดีแสดงวัฒนธรรม
-ศิลปกรรม
-กระบวนเรือ

๑ บอกคุณค่าของวรรณคดีด้านวรรณศิลป์ได้

๒.บอกสภาพสังคม,ความเป็นอยู่,วัฒนธรรม,ความเชื่อในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
๔-๕
(๑๔-๒๕ พ.ย.)
๗-๑๐
๑.ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับชีวิต
๒.โคลนติดล้อ-ทรรศนะที่มีต่ออาชีพ
๓.หัวใจชายหนุ่ม
–วิถีชีวิตของหนุ่มนักเรียนนอก

๑.บอกความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับชีวิตได้

๒.บอกสภาพสังคม, ความเป็นอยู่, วัฒนธรรม, ความเชื่อในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
(๒๘พ.ย.-๒ธ.ค.)
๑๑-๑๒
๑. สามก๊กตอน กวนอูไปรับราชการกับโจโฉ

๑.บอกสภาพสังคม  ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความเชื่อในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
๒.วิเคราะห์ชีวิตที่ปรากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันได้
( ๖-๙ ธ.ค. )
ค่ายวิชาการ
๘-๙
(๕-๑๖ธ.ค.)

๑๕-๑๘
๑.คุณค่าของวรรณคดีด้านสังคม
๒.สามัคคีเภทคำฉันท์

๑.บอกคุณค่าของวรรณคดีด้านสังคมได้
๒.บอกสภาพสังคม, ความเป็นอยู่, วัฒนธรรม, ความเชื่อในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
๑๐
(๒๕,๒๗,๒๙ พ.ย.)
๑๙-๒๐
สอบกลางภาค
๑๑-๑๒
(๒-๑๓ ม.ค.๕๕)
๒๑-๒๔
ขุนช้างขุนแผน
ตอนขุนช้างถวายฎีกา
สันดานมนุษย์-เอาดีใส่ตัวของขุนช้าง
๑.บอกสภาพสังคม  ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความเชื่อในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
๒.วิเคราะห์ชีวิตที่ปรากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันได้
๑๓-๑๔
(๙-๒๐ ม.ค.)
๒๕-๒๘
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ในแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์(ร้อยกรองตำรายา)
๑.บอกสภาพสังคม  ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความเชื่อในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
๑๕
(๒๓-๒๗ ม.ค.)
๒๙-๓๐
ไตรภูมิพระร่วงตอน มนุสสภูมิ
๑.บอกสภาพสังคม  ความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความเชื่อในวรรณคดีเรื่องที่กำหนดให้ศึกษาได้
๒.วิเคราะห์ชีวิตที่ปรากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันได้
๑๖-๑๗
(๓๐ม.ค.-๑๐ก.พ.)
๓๑-๓๔
วรรณกรรมพื้นบ้าน
-ภาคใต้
-ภาคเหนือ
-ภาคกลาง
-ภาคตะวันออก
-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 ๑.วิเคราะห์ชีวิตที่ปรากฏใน วรรณกรรมพื้นบ้าน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตได้
๑๘
(๑๓-๑๗ก.พ.)
๓๕-๓๖
วรรณกรรมนานาชาติ
๑.วิเคราะห์ชีวิตที่ปรากฏใน วรรณกรรมนานาชาติ  เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตได้
๑๙
(๒๐-๒๔ก.พ.)
๓๗-๓๘
ทบทวน/สรุปสาระสำคัญ

๒๐
(๒๗,๒๙ก.พ.,๑มี.ค.)
สอบปลายภาค

๔. แผนการประเมินผลการเรียนรู้และการมอบหมายงาน

            การสอนรายวิชา ท๓๐๑๐๖ วรรณคดีกับชีวิต ประจำภาคเรียนที่ ๒  ปีการศึกษา ๒๕๕๔  มีแผนการประเมินผลการเรียนรู้
ดังนี้
            ๔.๑  ประเมินจากงานหรือการบ้านที่มอบหมาย                                                              ๖๐        คะแนน
            ๔.๒ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน : จิตพิสัย                                   ๑๐        คะแนน
            ๔.๓ ประเมินจากการสอบกลางภาค                                                                            ๑๐        คะแนน
            ๔.๔ ประเมินจากการสอบปลายภาค                                                                            ๒๐        คะแนน
รวม                         ๑๐๐     คะแนน
รายละเอียดการประเมินผลแต่ละหัวข้อเป็นดังนี้

๔.๑ ประเมินจากงานหรือการบ้านที่มอบหมาย (๖๐ คะแนน)

รายการ
รูปแบบ
วันที่มอบหมาย
กำหนดส่ง
เวลาที่ใช้
คะแนน
๑.แบบทดสอบเกี่ยวกับวรรณคดี
งานเดี่ยว
๒๕-๒๘ต.ค.๕๔
ในคาบเรียน
๓๐
๒.-ใบงาน/แบบทดสอบคุณค่าด้านวรรณศิลป์จากเรื่อง กาพย์เห่เรือ
 -การอ่านทำนองเสนาะประเภทการเห่เรือ
งานเดี่ยว
งานกลุ่ม
๓๑ต.ค.-๑๑พ.ย.๕๔
ในคาบเรียน
ในคาบเรียน
๓๐
๒๐
๓.-ใบงาน/แบบทดสอบเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับชีวิต จากเรื่อง โคลนติดล้อและหัวใจชายหนุ่ม
 -ผลงานกลุ่ม
- ความสัมพันธ์ของเรื่องกับชีวิต
- สภาพสังคม - ด้านความเป็นอยู่
                 - ด้านวัฒนธรรม
                 - ด้านความเชื่อ
- คุณค่าด้านวรรณศิลป์
งานเดี่ยว


งานกลุ่ม
๑๔-๒๕ พ.ย.๕๔
ในคาบเรียน


ในคาบเรียน




๓๐


๓๐


๔.-ใบงาน/แบบทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับชีวิตและคุณค่าด้านสังคมจากเรื่องสามก๊กตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ
   -ผลงานกลุ่ม- ความเป็นอยู่
                 - วัฒนธรรมที่ปรากฏในเรื่อง
                 - วิเคราะห์ตัวละครสำคัญ
งานเดี่ยว

งานกลุ่ม
๒๘พ.ย.-๒ธ.ค.๕๔
ในคาบเรียน

ในคาบเรียน
๓๐

๔๕

๕.-ใบงาน/แบบทดสอบคุณค่าของวรรณคดีด้านสังคมจากเรื่อง สามัคคีเภทคำฉันท์
-งานกลุ่ม -การแสดงบทบาทสมมุติ   
            -การอภิปรายเรื่องคุณธรรม
           -การเปรียบเทียบกับเหตุการณ์ปัจจุบัน
งานเดี่ยว

งานกลุ่ม
๕-๑๖ธ.ค.๕๔
ในคาบเรียน

ในคาบเรียน

๓๐

๒๐


สอบกลางภาค       ๒๕,๒๗,๒๙ พ.ย. ๒๕๕๔
๑๐
๖.-ใบงาน/แบบทดสอบคุณค่าด้านสังคมเรื่องขุนช้างขุนแผนตอนขุนช้างถวายฏีกา
  -สัมมนา  ถ้าท่านเป็นคณะลูกขุนในการพิจารณาคดีที่ขุนช้างถวายฎีกา ท่านจะพิจารณาตัดสินคดีนี้อย่างไร ”
งานเดี่ยว

งานกลุ่ม
๒-๑๓ ม.ค.๕๕
ในคาบเรียน

ในคาบเรียน
๓๐

๓๐

๗.-debate คุณค่าของคัมภีร์ฉันทศาสตร์ในแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
    -ผังความคิดความรู้ที่ได้
งานกลุ่ม
งานกลุ่ม
๙-๒๐ ม.ค.๕๕
ในคาบเรียน
ในคาบเรียน
๔๕
๓๐


                   

๘.-ใบงาน/แบบทดสอบสภาพสังคม จากเรื่องไตรภูมิพระร่วงตอนมนุสสภูมิ
    -อภิปราย
งานเดี่ยว

งานกลุ่ม
๒๓-๒๗ ม.ค.๕๕
ในคาบเรียน
ในคาบเรียน
๓๐
๔๕


๙. สัมมนา วรรณกรรมพื้นบ้าน
งานกลุ่ม
๓๐ม.ค.-๑๐ก.พ.๕๕
ในคาบเรียน
๕๐
๑๐. สัมมนา วรรณกรรมนานาชาติ
งานกลุ่ม
๑๓-๑๗ก.พ.๕๕
ในคาบเรียน
๕๐
สอบปลายภาค    ๒๗, ๒๙ ก.พ., ๑ มี.ค. ๒๕๕๕
๒๐

หมายเหตุ            ๑. เวลาที่นักเรียนควรใช้  หมายถึง  เวลาที่ครูได้พิจารณาว่า ในการทำงานหรือทำการบ้านชิ้นนั้น ๆ  นักเรียนควรใช้เวลาทำประมาณเท่าใด  การประมาณการดังกล่าว ครูได้พิจารณาจากความยาก ความซับซ้อน และปริมาณของงาน หรือการบ้านชิ้นนั้น ๆ
                        ๒. งานหรือการบ้านที่มอบหมายแต่ไม่ได้คิดคะแนนก็ได้นำเสนอไว้ในตารางนี้ด้วย เพื่อเป็นข้อมูลว่างานหรือการบ้านที่ได้มอบหมายทั้งหมดของรายวิชานี้นักเรียนจะต้องใช้เวลาทำมากน้อยเพียงใด

















๔.๒  การประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน : จิตพิสัย ( ๑๐ คะแนน )
การประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนรายวิชา ท๓๐๑๐๖ วรรณคดีกับชีวิต  ประจำภาคเรียนที่ ๒  ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ได้กำหนดหัวข้อการประเมินดังตารางข้างล่าง

หัวข้อการประเมิน
ผลการประเมิน


(๑)  ความรับผิดชอบ  (๔  คะแนน)
     ๑.  เข้าชั้นเรียนตรงเวลา

ดีเยี่ยม
(๕)

ดีมาก
(๔)

ดี
(๓)
ปานกลาง
(๒)
ต้อง
ปรับปรุง
(๑)





     ๒.  ส่งงานตรงเวลา





     ๓.  ปรับปรุง พัฒนาผลงานของตนเองสม่ำเสมอ





๔. มีความพร้อมในการเรียน (การเตรียมอุปกรณ์,การร่วมแสดง     
      ความคิดเห็น)





(๒)  การปฏิบัติกิจกรรม  (๓  คะแนน)
     ๑.  ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม





     ๒.  ความกระตือรือร้นในการทำงาน





     ๓.  ความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน





(๓)  ความมุ่งมั่นในการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง (๓  คะแนน)
     ๑.  ความตั้งใจที่จะใช้ภาษาไทย-เลขไทยให้ถูกต้อง เหมาะสม





     ๒.  ปรับปรุงความบกพร่องในการใช้ภาษาสม่ำเสมอ





     ๓.  มารยาทในการนำเสนอผลงาน





รวม







รวม  =  ......................................................
         =  ......................................................
๔.๓. การประเมินจากการสอบกลางภาค    (๑๐  คะแนน )
            กำหนดสอบกลางภาค  ระหว่างวันที่  ๒๕,๒๗.๒๙ พ.ย. ๒๕๕๕  เวลาที่ใช้ในการสอบ  ๖๐  นาที     หัวข้อ / เนื้อหาและลักษณะของข้อสอบ    มีรายละเอียดดังตาราง
หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบกลางภาค
ลักษณะ/จำนวนข้อสอบ
คะแนน
๑. วิเคราะห์สภาพสังคม  ความเป็นอยู่  วัฒนธรรม  ความเชื่อ   จากวรรณกรรม/วรรณคดีที่กำหนดให้
เขียนตอบ   จำนวน    ข้อ
๑๐

๔.๔. การประเมินจากการสอบปลายภาค    (๒๐  คะแนน )
            กำหนดสอบปลายภาค  ระหว่างวันที่  ๒๗, ๒๙ ก.พ., ๑ มี.ค. ๒๕๕๕  เวลาที่ใช้ในการสอบ  ๖๐  นาที     หัวข้อ/เนื้อหาและลักษณะของข้อสอบ    มีรายละเอียดดังตาราง
หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบปลายภาค
ลักษณะ/จำนวนข้อสอบ
คะแนน
๑.วิเคราะห์สภาพสังคม  ความเป็นอยู่  วัฒนธรรม  ความเชื่อ   จากวรรณกรรม ที่กำหนดให้
เขียนตอบ   จำนวน    ข้อ
๑๐
๒.วิเคราะห์ชีวิตจากวรรณคดี/วรรณกรรมที่กำหนดให้
เขียนตอบ   จำนวน    ข้อ
๑๐

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น